lundi 27 septembre 2010


-          มีความรู้ในการทำข้าวแต๋น
-         ได้ฝึกหัดกระบวนการฝึกปฏิบัติการทำข้าวแต๋นแต่ละขั้นตอนแบบละเอียด
-         ได้ข้าวแต๋นที่มีรสชาติหลากหลาย ถูกปากผู้บริโภค
-         เป็นส่วนหนึ่งในการอนุรักษ์ภูมิปํญญาท้องถิ่น
-          สามารถเผยแพร่การทำข้าวแต๋นแก่ผู้ที่สนใจได้
-          ทำให้ข้าวแต๋นมีคุณค่าทางโภชนาการมากยิ่งขึ้น
-         ใช้ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง








       ข้าวแต๋น เป็นของหวานทานเล่นที่นิยมมาช้านานแต่ปัจจุบันคนรุ่นหลังไม่รู้จักข้าวแต๋น อีกทั้งยังไม่นิยมรับประทานกัน แต่เมื่อคณะผู้จัดทำนำมาศึกษาจึงได้ทราบว่าผู้บริโภคส่วนใหญ่มักนิยมรับประทาน ผักผลไม้และธัญพืชต่างๆ ที่ช่วยดูแลสุขภาพ คณะผู้จัดทำจึงได้นำข้าวแต๋นมาแปรรูป และคิดค้นเมนูใหม่ เพื่อให้ข้าวแต๋น เป็นอีกทางเลือก ของผู้ที่รักสุขภาพ อีกทั้งยังเป็นการทำให้ผู้บริโภค หันกลับมานิยมรับประทานข้าวแต๋นกันมากยิ่งขึ้น  และนอกจากนี้ คณะผู้จัดทำยังได้มีการจัดทำ blog เรื่องข้าวแต๋น เป็นภาษาฝรั่งเศสเพื่อให้บุคคลที่สนใจ และผู้ที่ใช้ภาษาฝรั่งเศส ได้เข้ามาศึกษาอีกด้วย



-         สามารถนำข้าวแต๋นมาแปรรูป และมีความน่าสนใจ สามารถรับประทานได้
-         มีความคิดสร้างสรรค์ สามารถสร้างสรรค์สินค้าใหม่ๆ ออกมา
-         ได้ความรู้เรื่องการทำข้าวแต๋นและสามารถทำรับประทานเองได้
-         เป็นการทบทวนความรู้ด้านการใช้ภาษาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสาร
-                สามารถใช้ภาฝรั่งเศสเพื่อการสื่อสารได้อย่างถูกต้อง






-         ควรแบ่งเวลาในการปฏิบัติงานให้ดี
-         ควรมุ่งเน้นเนื้อหาไปที่ภูมิปัญญาท้องถิ่นมากกว่านี้
-         ควรมีข้าวแต๋นแปรรูปเป็นอาหารขบเคี้ยวภายในการจัดงานต่างๆในโรงแรม



-         เกิดการเปลี่ยนแปลงเรื่องสถานที่การศึกษาการลงมือปฏิบัติ   (เปลี่ยนผู้ให้ความรู้)
-         ไม่ชำนาญเรื่องเส้นทาง  (หมู่บ้านป่าตอง)
-          เวลาในการทำงานมีจำกัด (การตากข้าวต้องอาศัยเวลาช่วงแดดจัด)
-          ฝนตกหนัก
-          ข้าวแต๋นเกิดเชื้อรา


-         ค้นหาสถานที่การเรียนรู้ทำข้าวแต๋นใหม่
-         สอบถามเพื่อนที่ในชั้นเรียนที่ทราบเส้นทางก่อนวันที่จะเดินทางไปทำการศึกษา,ส่งตัวแทนภายในกลุ่มไปตรวจสอบสถานที่ล่วงหน้า
-         ไม่ควรทิ้งข้าวแต๋นไว้นานเกินไป